8 มาตรการเยียวยา แรงงานลูกจ้าง อาชีพอิสระ ที่ไม่อยู่ในประกันสังคม

11 มีนาคม 2565

 

1.รับเงินชดเชยรายได้

ลูกจ้างชั่วคราว อาชีพอิสระ ที่ไม่ได้อยู่ในระบบประกันสังคม

– สนับสนุนเงิน คนละ 5,000 บาท ต่อเดือน ระยะเวลา 3 เดือน

สำหรับผู้ที่อยู่ในระบบประกันสังคม

– เพิ่มสิทธิกรณีว่างงาน 50% ของค่าจ้าง

กรณีนายจ้างไม่ให้ทำงาน รับเงินไม่เกิน 180 วัน

กรณีรัฐสั่งให้หยุด รับเงินไม่เกิน 90 วัน

 

วิธีรับเงินชดเชยรายได้ 5,000 บาท

ลงทะเบียน
– ผ่าน www.เราไม่ทิ้งกัน.com (เปิดให้ลงทะเบียน 28 มีนาคม 2563)
หลักฐานที่ต้องใช้
– บัตรประชาชน ,ข้อมูลส่วนบุคคล ,ข้อมูลนายจ้าง

รับเงินผ่าน
– พร้อมเพย์ที่ผูกกับบัตรประชาชน
– โอนเข้าบัญชีธนาคาร

 

2.สินเชื่อฉุกเฉิน

– วงเงิน 10,000 บาท ต่อราย
– อัตราดอกเบี้ย 0.1% ต่อเดือน
– ไม่ต้องมีหลักประกัน
– ระยะเวลากู้ไม่เกิน 2 ปี 6 เดือน
– ปลอดชำระเงินต้นและดอกเบี้ย 6 เดือน
– ขอสินเชื่อถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2563

 

3.สินเชื่อพิเศษ

– วงเงิน 50,000 บาทต่อราย
– อัตราดอกเบี้ย 0.35% ต่อเดือน
– ต้องมีหลักประกัน
– ระยะเวลากู้ไม่เกิน 3 ปี
– ขอสินเชื่อถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2563

 

4.โรงรับจำนำดอกเบี้ยต่ำ

– คิดดอกเบี้ย ในอัตราไม่เกิน 0.125% ต่อเดือน
– ระยะเวลา 2 ปี

 

5.เลื่อนยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

– เดิมสิ้นสุด วันที่ 30 มิถุนายน 2563 เป็น วันที่ 31 สิงหาคม 2563

 

6.เพิ่มวงเงินลดหย่อนค่าเบี้ยประกันสุขภาพ

– เดิม 15,000 บาท เป็น 25,000 บาท (เมื่อรวมกับการหักลดหย่อนค่าเบี้ยประกันชีวิตและเงินฝากประเภทสงเคราะห์ชีวิตต้องไม่เกิน 100,000 บาท เริ่มตั้งแต่ปีภาษี 2563 เป็น0ต้นไป)

 

7.ยกเว้นภาษีเงินได้

– สำหรับค่าสั่ยงภัยให้บุคลากรทางการแพทย์

 

8.ฝึกอบรม

– ฝึกอบรม เพิ่มทักษะอาชีพ รวมถึงนักศึกษาที่ยังหางานไม่ได้

 

– – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – – –

อบรมฟรี “รวมหลักเกณฑ์และสิทธิประโยชน์ทางบัญชีและภาษีในช่วงสถานการณ์ Covid-19”

กับธรรมนิติ Virtual Training การอบรมรูปแบบออนไลน์ผ่าน Facebook live
ในวันอังคารที่ 7 เมษายน 2563 เริ่มตั้งแต่ 10.00 – 12.00 น.

พบคำตอบที่นี่ ❗️ ที่เดียว ❗️

• งบการเงินขยายเวลายื่นหรือไม่?
• กฎหมายภาษีอะไรบ้างที่ออกมาเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการในช่วงไวรัสระบาด
• หลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่าย 1.5% จะเข้าเงื่อนไขหักต้องปฏิบัติอย่างไร
• พร้อมสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรของกรมสรรพากรและกรมพัฒนาธุรกิจการค้าล่าสุด

ลงทะเบียนอบรมฟรี!! คลิกเลย https://bit.ly/2QZsDPd

Copyright ©2024  dharmniti.co.th All rights reserved.

Log in with your credentials

Forgot your details?