เรื่อง “สมรสเท่าเทียม” ไม่ใช่แค่การปรับเปลี่ยนคำเรียกสถานะ แต่คือการเปิดโอกาสให้ทุกคู่รักได้รับสิทธิที่เท่าเทียมกันในสังคม รวมถึงสิทธิ์ด้านภาษีอากรที่ส่งผลโดยตรงต่อการวางแผนชีวิตและการเงินของคู่สมรส กฎหมายใหม่นี้มีอะไรเปลี่ยนแปลงบ้าง และจะส่งผลต่อภาษีอากรอย่างไรบ้าง มาหาคำตอบกันในบทความนี้
การแก้ไขในกฎหมายสมรสเท่าเทียม
ร่างพระราชบัญญัติฯ สมรสเท่าเทียมหลายมาตราได้ปรับปรุงแก้ไขคำต่างๆ ซึ่งแตกต่างจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับปัจจุบัน เช่น “สามีภรรยา” และ “สามีและภริยา” เปลี่ยนเป็น “คู่สมรส” หรือคำว่า “สามีหรือภรรยา” เปลี่ยนเป็น “คู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง” เป็นต้น ส่วนบริบทอื่นๆ ยังคงกำหนดเช่นเดิม
มาตรา 1461
มาตรา 1475
มาตรา 1493
การแก้ไขกฎหมายสมรสเท่าเทียมไม่เพียงแต่สะท้อนถึงความเปลี่ยนแปลงทางสังคม แต่ยังหมายถึงการให้ความสำคัญต่อสิทธิที่เท่าเทียมกันในทุกมิติ รวมถึงสิทธิด้านภาษีอากร เมื่อการใช้ชีวิตคู่ไม่ใช่เรื่องของเพศแต่เป็นเรื่องของสิทธิและหน้าที่ การเปลี่ยนแปลงนี้จะช่วยส่งเสริมให้ทุกคนมีความเท่าเทียมในทางกฎหมาย และสร้างสังคมที่ยอมรับและเคารพความหลากหลาย
อ่านบทความนี้เพิ่มเติมใน
เอกสารภาษีอากร ฉบับเดือนตุลาคม 2567
พร้อมบทความที่น่าสนใจ
โดยนักเขียนผู้เชี่ยวชาญกว่า 20 ท่าน